Wednesday, February 14, 2007

เวทีเขต 5ครั้งที่ 5/2550

เวทีเขตครั้งทื่ 5/2550 วันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2550
เรื่อง 1 การติดตามการจัดเก็บข้อมูล จปฐ.และกชช.2 ค ปี 2550
2 ศก.พอเพียงเขต 5
3 ตัวชี้วัดศักยภาพชุมชน
ผู้เข้าร่วมเวที
1 นายวีระยุทธ มณีผาย
2 นายฐานนท์ ภู่กองพัน
3 นายสมศักดิ์ สันชมภู
4 นางอัญชลี ป่งแก้ว
5 นายบุญส่ง เวศยาสิรินทร์
6 นางทิพวรรณ แก้วทอง
7 นางวาสนา ชัยชนะทอง
8 นายสุทธิเกียรติ จันทพันธ์
9 นายพุทธิพงษ์ เจตนเสน
10 น.ส.พจณี พรหมจิตต์
11 น.ส.นิตยา พุทธา
12 นางพรรษา มนูญผล
13 นางวิชชุกร พงษ์ประเสริฐ
14 นางศิรินันท์ รักขติวงศ์
15 น.ส.เสาวนีย์ เกียรติศิริถาวร
16 น.ส.กาญจนา ทิพย์วิวัฒน์พจนา
การติดตามการจัดเก็บข้อมูล จปฐ.และกชช.2 ค ปี 2550
- ทบทวนผลการติดตามฯปี 50 /ปัญหาอุปสรรค/ข้อสังเกต/ข้อเสนอแนะ
จังหวัด
ปัญหาอุปสรรค
ข้อสังเกต
ข้อเสนอแนะ
6 จังหวัด
-คนขาดทักษะในการเก็บ
-เครื่องคอมฯรุ่นเก่า
-คนรับนโยบายกับคนเก็บคนละคนกัน
-โปรแกรมยุ่งยาก
-บางแห่งไม่มีสมุดจปฐ.
-บางแห่งไม่มีโปสเตอร์
-ผู้จัดเก็บควรยกเลิกสมุดสรุปจปฐ.เล่มเล็ก
-ข้อ 27 เพิ่มรายได้เป็น23,000 บาท
-ระยะเวลาการเก็บสั้น
-จนท.ใช้เครื่อง PCไม่ชำนาญ

-คนจัดเก็บช้า
-การสิ่อสารภาษา-จนท.มีงานเยอะ(ประมวลผล)
-โปรแกรมมีปัญหา
-ขาดการประชาสัมพนธ์
-โปรแกรมมีหลายแบบ
ทำให้ผู้ปฏิบัติสับสน
-ใช้แบบสอบถาม
-พก.เข้ากับอบต.ดี
-ศอช.ขับเคลื่อนเรื่องการกรอกชื่อ
-อบต.สนับสนุนงบและลงมือทำเอง
-ใช้ข้อมูลเฉพาะเรื่องรายได้
-ควรมีแรงจูงใจที่เหมาะสม
-การเปรียบเทียบระหว่างPPC กับ PC
โน็ตบุค
-PCไม่มีความสันพันธ์มีการถ่ายทอด
น้อยและมีข้อจำกัด
-PCสามารถประมวลผลได้ในตัวเองและมีการตรวจสอบข้อมูลในตัวเอง
-การฝึกอบรมทำความเข้าใจตัวชี้วัด
สรุป
คน



โปรแกรม



แบบสอบถาม



PC






ปี 50
-การทำความเข้าใจเรื่องตัวชี้วัดล่าช้า
-การอบรมให้ความรู้การจัดเก็บล่าช้า
-โปรแกรม จปฐ./เสร็จช้า/ไม่นิ่ง/พื้นที่ไม่สามารถจัดเก็บตามแผนได้/อบรมโปรแกรมไม่ได้/โปรแกรมมีการปรับปรุงเรื่อยๆขณะนี้นิ่งอยู่ในระดับหนึ่ง เข้าเว็บ cdd_05 หรือ SKYPEcdd_05
หรือสอบถามกรมฯโดยตรง
-เจ้าหน้าที่ไม่มีความรู้ด้าน PCและไม่มีเครื่อง
-แบบสอบถามมาล่าช้า
-รายละเอียดตัวชี้วัดแยะมาก
-ปัญหาเรื่องการโอนย้ายเจ้าหน้าที่
การติดตามในช่วงการจัดเก็บ(บันทึก/ประมวลผล) มค.-มีค. 50
1 ขั้นตอนการจัดเก็บ
-รูปแบบการจัดเก็บ
-ผลความก้าวหน้าทั้ง 3 กระบวนการ
-สรุปปัญหาอุปสรรค
2 การบันทึกข้อมูล จปฐ.
-ความก้าวหน้า
-การบันทึก
-ปัญหาอุปสรรค
3 การประมวลผล
-ความก้าวหน้า
-การบันทึก
-ปัญหาอุปสรรค
4 การจัดเวที(ไม่มีงบ)
-กระบวนการจัดเวที-ขั้นตอน/วิธีการ-ก่อน-ระหว่าง-หลัง
-คนเข้าร่วม
หน.คร.ทุกครัวเรือน/หน่วยงานอื่น
-บันทึก การจัดเวที
-ผลการจัดเวที
-กรณีที่ไม่มีแผนคราดว่าจะดำเนินการเมื่อไร
5 ประโยชน์ที่ได้รับ/ครัวเรือน/ชุมชน/อปท/หน่วยราชการ/หน่วยเอกชน
6 ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ
-ตัวชี้วัด เหมาะสม สอดคล้อง ครอบคลุมพื้นที่/ขิอเสนอแนะ เพื่มเติมหรือลดลง
-เปรียบเทียบจากการจัดเก็บด้วย


แผนการติดตามการจัดเก็บข้อมูล จปฐ.กชช.2 ค ปี 50
จังหวัด
จำนวนวัน
คน
ระยะเวลา
ผู้ติดตาม
เชียงใหม่
4
2
13-16 มีค.50
วาสนา-นิตยา
เชียงราย
4
2
13-16 มีค.50.
ฐานนท์-วิชัย
ลำปาง
3
2
14-16 มีค.50
กาญจนา-พรรษา
ลำพูน
3
2
19-21 มีค.50
สุทธเกียรติ-อัญชลี
พะเยา
3
2
21-23 กพ.50
เสาวนีย์-วิชชุกร
แม่ฮ่องสอน
4
2
20-23 มีค.50
บุญส่ง-กิจวัฒน์

2 การติดตามศก.พอเพียง
-ตามคำสั่ง
-ประเด็นการติดตามตามแผนของจังหวัด/อำเภอ
-กระบวนการ/รูปแบบการขับเคลื่อน
-ใครเป็นผู้รับผิดชอบในระดับต่างๆตั้งแต่จังหวัดถึงพื้นที่
-ผลการขับเคลื่อนอย่างไร มีปัญหาหรือไม่มีข้อเสนออย่างไร
-ไตรมาส1 อย่างไร ไตรมาส2
-หมู่บ้านต้นแบบ จังหวัดละ 2 หมู่บ้านพร้อมรายละเอียด มีเหตุผลอย่างไร ตัวชี้วัด 6 + 2
-ฯลฯตามแบบฟอร์ม
ข้อเสนอแนะถึง ผอ. ควรให้ความรู้ในการถอดบดเรียนของนักวิชาการเขต/จังหวัดในวันพุธ 21 กุมภาพันธ์ 2550
-วิธีการอย่างไรในการถอดบทเรียน
-การขับเคลื่อนมีส่วนร่วมไหมย่างไร
-ท้องถิ่นดำเนินการอย่างไรบ้าง
-สิ่งที่ต้องการ/รูปแบบ/กระบวนการ/วิธีการ/การขับเคลื่อน
3 ตัวชี้วัดศักยภาพชุมชน จำนวน 4 ตัว

No comments: